Tag Archives: ทำเบียร์กินเอง
การทำเบียร์ให้มีเนื้อสัมผัส (Full Bodied)
เคยทำเบียร์แล้วรู้สึกว่ารสสัมผัสมันบางเกินไปรึเปล่า หรือ เคยคิดว่าถ้าหากเบียร์มีเนื้อสัมผัสหนากว่านี้ เบียร์อาจจะมีเนื้อมีหนัง
Jan
การทำเบียร์ ต้องระวัง Oxygen ช่วงไหนบ้าง
Oxygen เป็นสิ่งที่ Brewer ต้องระวังเป็นพิเศษ เติมมาถูกช่วงก็เป็นผลดี แต่ถ้าเติมมาผิดช่วงก็อาจก่อให้เกิดรสชาติอันไม่พึงประสงค์ได้
Dec
Off-Flavor ตอน Diacetyl
Off-Flavor ตอน Diacetyl คยได้รสชาติเนยๆ, butterscotch หรือเหมือนรสป็อปคอร์นในเบียร์รึเปล่า? สามารถเกิดขึ้นได้จากการติดเชื้อแบคทีเรียบางกลุ่ม
Nov
การทำ Kettle Sour
การทำ Kettle Sour การทำให้เวิร์ทที่ยังไม่หมัก เปรี้ยวเร็ว โดยใช้แลคโตบาซิลลัสกินน้ำตาลในเวิร์ท และเปลี่ยนเป็นกรดแลคติก ทำให้ได้รส Tart ที่เป็นเอกลักษณ์
Nov
Off-Flavor ตอน Isovaleric acid
กรด Isovaleric acid มีลักษณะเฉพาะ คือ กลิ่นหอมฉุน ซึ่งในบางทีจะอธิบายว่าเป็นกลิ่นชีส หรือ "ถุงเท้าที่ใช้ออกกำลังกาย" เป็นหนึ่งใน off- flavor อย่างนึงค่ะ
Nov
Trouble Shooting ตอนที่ 4 – ต้มเบียร์แต่ละครั้ง ใช้เวลาเท่าไร
การ ต้มเบียร์ ครั้งนึง มีหลายปัจจัยมาก ทั้งคุมได้และไม่ได้ ถ้าจะตอบคำถามว่า ใช้เวลาเท่าไร อย่างน้อยรวม ๆ ก็ 3 - 4 ชั่วโมงต่อการ ต้มเบียร์[...]
Nov
ลินาลูล (Linalool) ที่อยู่ใน ฮอปส์ คืออะไร
ลินาลูล (Linalool) เป็นแอลกอฮอล์ที่สามารถละลายได้ในเวิร์ท (wort) และในเนื้อเบียร์ได้มากกว่า Myrcene เป็นกลิ่นที่เหมาะมากหากอยู่ในเบียร์
Nov
Trouble Shooting ตอนที่ 3 – ตะกอนในเบียร์ เยอะเกินไป ป้องกันได้ยังไงได้บ้าง
ตะกอนในเบียร์ ที่อยู่ก้นขวด ถึงไม่ได้เป็นอันตราย แต่ถ้ามีตะกอนมากๆ เราอาจจะรู้สึกขัดหูขัดตาไปบ้าง ลองดูวิธีจัดการให้ตะกอนน้อยลงนะคะ
Oct
ไมร์ซีน (Myrcene) ที่อยู่ใน ฮอปส์ คืออะไร
กลิ่นหอมหลายๆกลิ่น ที่เราได้ใส่ฮอปส์แต่ละชนิดลงไป แล้วให้กลิ่นไม่เหมือนกัน ไมร์ซีน (Myrcene) ที่อยู่ใน ฮอปส์ เป็นหนึ่งในองค์ประกอบที่ส่งผลนี้
Oct
Hops Oil 101 – รู้จักน้ำมันในฮอปส์เบื้องต้น
น้ำมันจากฮอปส์ เป็นตัวที่ทำให้ เบียร์มีกลิ่นหอม ที่หลากหลาย กลิ่นดอกไม้ เครื่องเทศ สมุนไพร และผลไม้ ซึ่งอาจมีสารประกอบมากถึง 1,000 ชนิดเลย
Oct