Author Archives: Ale-pprentice

น้ำสำหรับการทำเบียร์ เรื่องไม่ง่าย สำหรับชาว Homebrewer

ส่วนประกอบในเบียร์ส่วนใหญ่ก็คือ น้ำ เป็นเหตุผลว่า น้ำที่ใช้ในการ ทำเบียร์ ควรมีคุณภาพดี บทความนี้ จะแยกเป็น 2 เรื่องระหว่าง คุณภาพ

Noble Hops คืออะไร?

Noble hops เป็นชื่อที่เรียก ฮอปส์ 4 สายพันธหลัก ๆุ ที่พูดถึงกันบ่อย ๆ คือ Hallertauer Mittelfrüh, Tettnag, Spalt และ[...]

การทำเบียร์ให้มีเนื้อสัมผัส (Full Bodied)

เคยทำเบียร์แล้วรู้สึกว่ารสสัมผัสมันบางเกินไปรึเปล่า หรือ เคยคิดว่าถ้าหากเบียร์มีเนื้อสัมผัสหนากว่านี้ เบียร์อาจจะมีเนื้อมีหนัง

Off-Flavor ตอน Diacetyl

Off-Flavor ตอน Diacetyl คยได้รสชาติเนยๆ, butterscotch หรือเหมือนรสป็อปคอร์นในเบียร์รึเปล่า? สามารถเกิดขึ้นได้จากการติดเชื้อแบคทีเรียบางกลุ่ม

การทำ Kettle Sour

การทำ Kettle Sour การทำให้เวิร์ทที่ยังไม่หมัก เปรี้ยวเร็ว โดยใช้แลคโตบาซิลลัสกินน้ำตาลในเวิร์ท และเปลี่ยนเป็นกรดแลคติก ทำให้ได้รส Tart ที่เป็นเอกลักษณ์

Trouble Shooting ตอนที่ 4 – ต้มเบียร์แต่ละครั้ง ใช้เวลาเท่าไร

การ ต้มเบียร์ ครั้งนึง มีหลายปัจจัยมาก ทั้งคุมได้และไม่ได้ ถ้าจะตอบคำถามว่า ใช้เวลาเท่าไร อย่างน้อยรวม ๆ ก็ 3 - 4 ชั่วโมงต่อการ ต้มเบียร์[...]

Trouble Shooting ตอนที่ 3 – ตะกอนในเบียร์ เยอะเกินไป ป้องกันได้ยังไงได้บ้าง

ตะกอนในเบียร์ ที่อยู่ก้นขวด ถึงไม่ได้เป็นอันตราย แต่ถ้ามีตะกอนมากๆ เราอาจจะรู้สึกขัดหูขัดตาไปบ้าง ลองดูวิธีจัดการให้ตะกอนน้อยลงนะคะ

Trouble Shooting ตอนที่ 2 – ทำไมเบียร์ไม่ซ่า หรือ ทำไมเบียร์ซ่าเกิน

หลายคนอาจเคยมีประสบการณ์ที่ ทำเบียร์ เอง แล้วเกิดคำถามว่า ทำไม เบียร์ไม่ซ่า หรือ เบียร์ซ่าเกินไป เกิดอะไรขึ้น มันเป็นเพราะขั้นตอนไหน

วิธีง่ายๆ ที่จะช่วยเรื่อง ออกซิเจนในเบียร์ ด้วย ฝาจีบแบบดูดออกซิเจน

แน่นอนว่าออกซิเจนเป็นตัวทำลายรสชาติและคุณภาพของเบียร์ ถ้าหากว่าต้องการจะลดปริมาณออกซิเจนในขวดเบียร์ จึงแนะนำ ฝาจีบแบบดูดออกซิเจน

47 คำพบบ่อย ที่ใช้กันใน Homebrew

47 คำพบบ่อย ที่ใช้กันใน Homebrew อ้างอิงบทความจากเว็บ Straighttothepint ที่ได้รวบรวมคำศัพท์ที่ใช้กันบ่อยๆ ในวงการทำเบียร์ Homebrew